
 |
|
 |
|
 |
|
 |
|
|
|
|
|
 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพญี่ปุ่นซึ่งจะเดินทางไปประเทศแถบอินโดจีน ได้ยกทัพมาติดอยู่บริเวณซึ่งเป็นที่ตั้ง ของตำบลทับกฤชในปัจจุบัน จึงมีชื่อเรียกเป็นภาษาพูดว่า ทัพติด แล้วเพี้ยนเปลี่ยนกันมาจนเป็นทับกฤช ในปัจจุบันตำบลทับกฤชใต้เดิมเป็นหมู่บ้านหนึ่งในตำบล
ทับกฤช ซึ่งประกอบไปด้วย 3 หมู่บ้าน คือ ทับกฤชเหนือ
ทับกฤชกลาง ทับกฤชใต้ ต่อมาหมู่บ้านทับกฤชใต้ มีประชากรมากขึ้นจึงแยกการปกครองออกมา จัดตั้งเป็นตำบล และยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล เมื่อปี พ.ศ. 2540 (ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล ณ วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2539) |
|
|
|
|
|
“องค์การบริหารส่วนตำบลทับกฤชใต้” ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2540 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2539 และใช้เป็นศูนย์กลางการพัฒนาในเขตตำบลทับกฤชใต้ |
|
|
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลทับกฤชใต้ ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัดนครสวรรค์ ห่างจากที่ว่าการอำเภอชุมแสงประมาณ 21 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดนครสวรรค์ ประมาณ 19 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 19,715 ไร่ หรือ 31.54 ตารางกิโลเมตร
|
|
|
|
|
|
 |
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ต.โคกหม้อ |
อ.ชุมแสง |
จ.นครสวรรค์ |
 |
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ต.เกรียงไกร |
อ.เมือง |
จ.นครสวรรค์ |
|
 |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ต.ทับกฤช |
อ.ชุมแสง |
จ.นครสวรรค์ |
 |
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
ต.บางพระหลวง |
อ.เมือง |
จ.นครสวรรค์ |
|
|
|
    |
|
   |
|
|
สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบลุ่ม ซึ่งเป็นที่ราบลุ่มติดแม่น้ำ 1 สาย คือ แม่น้ำน่าน ดินส่วนมากเป็นดินเหนียวซึ่งเหมาะแก่การทำการเกษตร สภาพดินเหมาะแก่การทำนาเป็นส่วนใหญ่ พื้นที่นา ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 80% ของพื้นที่ราบ การทำนาทำได้ปีละ 2 ครั้ง ในช่วงเดือน พฤศจิกายน - เดือน กรกฎาคม ในปีถัดไป แหล่งน้ำธรรมชาติของตำบลเป็นแม่น้ำน่าน บึงทับกฤช และหนองต่างๆ |
|
|
|
|
|
|

 |
ฤดูฝน จากเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคม |

 |
ฤดูหนาว จากเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนมกราคม |

 |
ฤดูร้อน จากเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนเมษายน |
|
|
|
|
|
|
การประกอบอาชีพของประชากรส่วนใหญ่ของตำบลทับกฤชใต้ มีอาชีพเกษตรกรรม ทำนาเป็นอาชีพหลัก ทำสวน ทำไร่ และประมง เป็นอาชีพรอง มีส่วนน้อยประกอบอาชีพรับจ้างและค้าขาย แยกออกเป็น |

 |
อาชีพทำนา พื้นที่ทำนาประมาณ 6,495 ไร่ คิดเป็น 97% ของพื้นที่ทำการเกษตร เริ่มผลิตในเดือน พฤษภาคม - ธันวาคม มีการใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ และปุ๋ยหมักชีวภาพในนาข้าว |
|
|
|

 |
อาชีพทำไร่ พื้นที่ปลูกประมาณ 120 ไร่ คิดเป็น 2% ของพื้นที่ทำการเกษตร พืชที่ปลูกส่วนใหญ่ คือ ข้าวโพดตัดฝัก, พริก, มะเขือ, ส่วนใหญ่ปลูกพืชไร่ตามที่ดอนน้ำน้อย |

 |
อาชีพทำสวน พื้นที่ปลูกประมาณ 70 ไร่ คิดเป็น 1% ของพื้นที่ทำการเกษตร พืชที่ปลูกส่วนใหญ่ เป็นไม้ตัดดอก เช่น ดาวเรือง, รัก, มะลิ |

 |
อาชีพรับจ้าง เมื่อว่างเว้นจากการทำการเกษตร คนหนุ่ม - สาว จะเคลื่อนย้ายแรงงานเข้าไปหางานรับจ้างทำในกรุงเทพ หรือตามเมืองใหญ่ |

 |
อาชีพเลี้ยงสัตว์ โดยส่วนใหญ่จะเลี้ยงวัว, เป็ด, นอกจากนั้นจะเป็นไก่ และสุกร |

 |
อาชีพเลี้ยงสัตว์น้ำ เมื่อว่างเว้นจากการทำนา |
|
|
|
|
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 3,394 คน แยกเป็น |

 |
ชาย จำนวน 1,705 คน |
คิดเป็นร้อยละ 50.24 |

 |
หญิง จำนวน 1,689 คน |
คิดเป็นร้อยละ 49.76 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 1,140 ครัวเรือน |
ความหนาแน่นเฉลี่ย 107.61 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
|
 |
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
 |
|
1 |
|
บ้านกฤชทอง |
127 |
123 |
250 |
81 |
|
 |
2 |
|
บ้านย่านสวาย |
157 |
179 |
336 |
104 |
 |
|
3 |
|
บ้านมาบชุมแสงพัฒนา |
182 |
182 |
364 |
123 |
|
 |
4 |
|
บ้านดงสวาท |
161 |
172 |
333 |
122 |
 |
|
5 |
|
บ้านคลองสนวน |
175 |
161 |
336 |
130 |
|
 |
6 |
|
บ้านดอนสนวน |
308 |
271 |
579 |
206 |
 |
|
7 |
|
บ้านทับกฤชใต้ |
360 |
369 |
729 |
238 |
|
 |
8 |
|
บ้านท่าช้าง |
235 |
232 |
467 |
136 |
 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
|
รวม |
1,705 |
1,689 |
3,394 |
1,140 |
 |
|
|
   |
|
|
|
|
|
|
|